• กลุ่มโรคบาดเจ็บจากกีฬา
• ผ่าตัดผ่านกล้องข้อเข่า ข้อไหล่
• รักษาข้อเข่าเสื่อม
• โรคทางกระดูกและข้อ
• อาจารย์แพทย์ ณ ศูนย์แพทย์ศาสตร์ศึกษา โรงพยาบาลมหาราชนครศรีธรรมราช
• ประธานโครงการศูนย์ความเป็นเลิศด้านเวชศาสตร์การกีฬา โรงพยาบาลมหาราชนครศรีธรรมราช
• ศัลยแพทย์กระดูกและข้อ โรงพยาบาลนครินทร์ โรงพยาบาลนครพัฒน์
• ประสบการณ์ร่วมประชุมวิชาการระดับนานาชาติ
• ประสบการณ์ I Funabashi sports medicine center ประเทศญี่ปุ่น
• วิทยากรงานประชุมทางวิชาการด้านกระดูกและข้อ
• นำเสนอผลงานวิจัย ณ ประเทศแคนาดา
• ประสบการณ์ร่วมงานประชุม แพทย์ศาสตร์ศึกษา ณ ประเทศฝรั่งเศส
• Advanced knee instructional course ณ ประเทศสิงคโปร์
2014 แพทย์ศาสตร์บัณฑิตเกียรตินิยมอันดับ 1 มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
2019 วุฒิบัตรออร์โธปิดิกส์ โรงพยาบาลสงขลานครินทร์
2020 อนุสาขาเวชศาสตร์การกีฬา โรงพยาบาลสงขลานครินทร์
วีดีโอโรคที่พบบ่อย
ข้อเท้าเป็นข้อที่รับน้ำหนักทั้งหมดของร่างกายทุกย่างก้าว อาการปวดข้อเท้า ข้อเท้าเสื่อม ย่อมส่งผลต่อการก้าวเดิน
รู้อีกทีเข่าหลวมง่อกแง่ก เอ็นเข่าขาดหลายเส้น ส่งผลปวดเรื้อรัง เข่าเสื่อมก่อนไวได้
ภาวะกระดูกอ่อนผิวข้อร่อน หรือ ODC (Osteochondritis dissecans of knee) พบได้ประมาณ 1 ใน 10,000 คน
อาการปวดข้อศอกด้านนอก บริเวณปุ่มกระดูก หรือเทนนิสเอลโบ ที่ 95% ของผู้มีอาการไม่ใช่นักเทนนิส
เป็นสถานการณ์ที่พบได้บ่อยกว่าที่คิด กระดูกไหปลาร้าหลุด + เอ็นพยุงไหล่ฉีกขาด ไหล่ผิดรูปเรื้อรัง ยกแขนไม่ขึ้น
ทำให้มีอาการปวดเข่า ข้อขัด เข้าล็อค ดังตัวอย่าง : ผู้ป่วยมีภาวะข้อเสื่อมก่อนวัย จากการฉีกขาดของเอ็นไขว้และหมอนรองกระดูก จากการใช้งานหนัก และไม่ได้รักษา
โดยศัลแพทย์กระดูกและข้ออนุสาขาเวชศาสตร์การกีฬา
เท้าแบน อุ้งเท้าล้ม ปวดเท้า เท้าแบนในผู้ใหญ่แบ่งเป็น 4 ระยะ
อาการเจ็บส้นเท้า จี๊ดๆ เหมือนมีอะไรตำส้นเท้า จากการมีกระดูกงอก ซึ่งสาเหตุอาจเกิดจากการบาดเจ็บซ้ำๆของเอ็นฝ่าเท้า
Hamstring injury
ลดอาการปวด และอักเสบของข้อเข่า ในผู้ป่วยข้อเข่าเสื่อม ป้องกันภาวะกระดูกพรุนในผู้สูงอายุ